วารสาร

ใช้ยาละลายลิ่มเลือดในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่พบร่วมกับอาการชัก
Topic Review

ใช้ยาละลายลิ่มเลือดในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่พบร่วมกับอาการชัก

สมศักดิ์ เทียมเก่า

โรคลมชักเป็นโรคทางระบบประสาทที่พบบ่อย ความชุกประมาณร้อยละ 1 ของประชากร พบได้ทุกกลุ่ม อายุ ซึ่งสาเหตุในแต่ละกลุ่มอายุมีความแตกต่างกัน โรคหลอดเลือดสมอง (stroke) พบว่าเป็นสาเหตุของโรค ลมชักที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ ผู้ป่วย stroke มีโอกาสการ เกิดอาการชักตามมาภายหลังสูงกว่าคนทั่วไป

เมษายน - มิถุนายน 2567
วารสารประสาทวิทยาแห่งประเทศไทย ปีที่ 40 ฉบับที่ 2

วารสารประสาทวิทยาแห่งประเทศไทย ปีที่ 40 ฉบับที่ 2

วารสารประสาทวิทยาแห่งประเทศไทย

- การพัฒนาและผลการดำเนินงานโรงพยาบาลเครือข่ายระบบช่องทางด่วนโรคหลอดเลือดสมอง (Stroke Fast Track) จังหวัดบึงกาฬ - Prevalence of Small Fiber Neuropathy in Idiopathic Parkinson’s Disease Patients - สาเหตุการเสียชีวิตของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบระบะเฉียบพลันในโรงพยาบาลพระนั่งเกล้า - ใช้ยาละลายลิ่มเลือดในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่พบร่วมกับอาการชัก - Status Epilepticus: Time is Brain - พยากรณ์ภาวะชักต่อเนื่อง - ทำไมต้องทำ DSC โรคลมชัก

เมษายน - มิถุนายน 2567 ISSN 2228 - 9801
แนวโน้มการเสียชีวิตผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองเฉียบพลัน
Original Article

แนวโน้มการเสียชีวิตผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองเฉียบพลัน

สมศักดิ์ เทียมเก่า

โรคหลอดเลือดสมองเฉียบพลัน (acute stroke) เป็นโรคทางระบบประสาทที่พบได้บ่อยมากขึ้นกว่าใน อดีต ปัจจุบันมีระบบการรักษาที่ดียิ่งขึ้น ได้แก่ การรักษา ด้วยระบบ stroke fast track การรักษาด้วยยาละลาย ลิ่มเลือด (thrombolytic treatment) หรือการรักษา ด้วยการใส่สายสวนหลอดเลือด...

เมษายน - มิถุนายน 2566
ความสัมพันธ์ของ Alberta Stroke Program Early CT-Score (ASPECTS) กับการพยากรณ์ประสิทธิผลการรักษาโรคหลอดเลือดสมองขาดเลือดเฉียบพลันชนิด Middle Cerebral Artery ด้วยยาละลายลิ่มเลือด Recombinant Tissue Plasminogen Activator (rtPA) ทางหลอดเลือดดำที่โรงพยาบาลอุดรธานี
Original Article

ความสัมพันธ์ของ Alberta Stroke Program Early CT-Score (ASPECTS) กับการพยากรณ์ประสิทธิผลการรักษาโรคหลอดเลือดสมองขาดเลือดเฉียบพลันชนิด Middle Cerebral Artery ด้วยยาละลายลิ่มเลือด Recombinant Tissue Plasminogen Activator (rtPA) ทางหลอดเลือดดำที่โรงพยาบาลอุดรธานี

สตรีรัตน์ จันทะศรี, ศรินทรา ตั้งพานิชดี, ศุภกร ปานวัฒน์วาณิช, สมศักดิ์ เทียมเก่า

โรคหลอดเลือดสมองเป็นสาเหตุการเสียชีวิต อันดับ 2 ในกลุ่มผู้สูงอายุ รองจากโรคหลอดเลือดหัวใจ ในผู้ป่วยที่รอดชีวิตจะมีความพิการ (disability) ระยะยาว จึงเป็นสาเหตุสำคัญของการสูญเสียปีสุขภาวะ (disability adjusted life year) ในกลุ่มผู้สูงอายุ...

กรกฎาคม - กันยายน 2565
วารสารประสาทวิทยาแห่งประเทศไทย ปีที่ 38 ฉบับที่ 3

วารสารประสาทวิทยาแห่งประเทศไทย ปีที่ 38 ฉบับที่ 3

วารสารประสาทวิทยาแห่งประเทศไทย

- ยา Armodafinil ในการรักษาภาวะนอนเกิน - ความสัมพันธ์ของ Alberta Stroke Program Early CT-Score (ASPECTS) กับการพยากรณ์ประสิทธิผล การรักษาโรคหลอดเลือดสมองขาดเลือดเฉียบพลันชนิด Middle Cerebral Artery ด้วยยาละลายลิ่มเลือด Recombinant Tissue Plasminogen Activator (rtPA) ทางหลอดเลือดดำ ที่โรงพยาบาลอุดรธานี - Related Factors of Recurrent Stroke among Stroke Patients in Rajavithi Hospital - COVID-19-Associated Acute Dissiminated Encephalomyelitis (ADEM) - ผลงานวิจัยของแพทย์ต่อยอดและแพทย์ประจำบ้าน สาขาประสาทวิทยา นำเสนอในการประชุมวิชาการ ประจำ ปี 2565 ครั้งที่ 62 วันที่ 2-4 มีนาคม 2565

กรกฎาคม - กันยายน 2565 ISSN 2228 - 9801
อัตราการป่วยตายขณะรักษาตัวในโรงพยาบาลของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตัน สิทธิประกันสุขภาพถ้วนหน้าในประเทศไทยระหว่างปี พ.ศ. 2552 ถึง 2563
Original Article

อัตราการป่วยตายขณะรักษาตัวในโรงพยาบาลของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตัน สิทธิประกันสุขภาพถ้วนหน้าในประเทศไทยระหว่างปี พ.ศ. 2552 ถึง 2563

นันทสิทธิ์ สมานสิทธิ์,สมศักดิ์ เทียมเก่า

โรคหลอดเลือดสมองตีบ หรืออุดตันเป็นหนึ่งในโรคที่เป็นสาเหตุหลักของการ เสียชีวิตของทั่วโลกรวมทั้งประเทศไทย การก่อตั้ง หอผู้ป่วยสำหรับผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง (stroke unit) และจัดตั้งโครงการรักษาโรคหลอดเลือดสมองตีบหรือ อุดตันเฉียบพลัน (stroke fast track) ในปี พ.ศ. 2551 สามารถลดอัตราการป่วยตาย (fatality rate) ของผู้ป่วย ได้เป็นอย่างมาก แต่พบว่าอัตราการป่วยตายในหลาย พื้นที่ของประเทศไทยยังมีความแตกต่างกันค่อนข้างมาก

กรกฎาคม - กันยายน 2564
Endovascular Treatment for Large Arterial Ischemic Stroke in Thailand at Present and Future
Recent Advance

Endovascular Treatment for Large Arterial Ischemic Stroke in Thailand at Present and Future

สุรศักดิ์ โกมลจันทร์,ยอดขวัญ วัฒนะเสน,ศิริรัตน์ คุณวุฒิดี

การรักษาโรคหลอดเลือดสมองอุดตันหรือตีบตัน มีความก้าวหน้ามากขึ้นทั้งด้านการวินิจฉัย การรักษา การป้องกันการกลับเป็นซ้ำ โดยเฉพาะการรักษา หลอดเลือดสมองอุดตันในระยะเฉียบพลัน 20 กว่าปีที่ ผ่านมามีจุดก้าวกระโดดอยู่สองครั้งนับจากครั้งแรกที่มี การใช้ยาละลายลิ่มเลือดทางหลอดเลือดดำสำหรับโรค หลอดเลือดสมองอุดตันระยะเฉียบพลัน...

มกราคม - มีนาคม 2564