วารสาร

ทำไมต้องทำ DSC โรคลมชัก
นานาสาระ

ทำไมต้องทำ DSC โรคลมชัก

ศ.นพ. สมศักดิ์ เทียมเก่า

โรคลมชัก (epilepsy) เป็นโรคทางระบบประสาทที่ พบบ่อย ความชุกประมาณ 7 คนใน 1000 คน พบได้ทุก เพศทุกวัย ผู้ป่วยโรคลมชักนั้นประสบปัญหาในการเข้า ถึงการรักษา จากการศึกษาขององค์การอนามัยโลกพบ ว่าผู้ป่วยโรคลมชักในประเทศไทยเพียง ร้อยละ 70 เท่านั้น ที่เข้าถึงการรักษา...

เมษายน - มิถุนายน 2567
พยากรณ์ภาวะชักต่อเนื่อง
Topic Review

พยากรณ์ภาวะชักต่อเนื่อง

สมศักดิ์ เทียมเก่า

ภาวะชักต่อเนื่อง (status epilepticus : SE) เป็น ภาวะฉุกเฉินโรคทางระบบประสาท มีอัตราการเสียชีวิตสูง พบได้บ่อยในผู้สูงอายุ อัตราการเสียชีวิตขึ้นกับสาเหตุ ของ SE โดยเฉพาะภาวะ hypoxic ischemic encephalopathy (HIE) และการรักษาที่รวดเร็วควบคุมอาการชักได้เร็วภายใน 30-60 นาทีแรกหรือไม่...

เมษายน - มิถุนายน 2567
Status Epilepticus: Time is Brain
Topic Review

Status Epilepticus: Time is Brain

สมศักดิ์ เทียมเก่า

Status epilepticus (SE) หรือภาวะชักต่อเนื่อง เป็น ภาวะฉุกเฉินหนึ่งของโรคระบบประสาท มีอัตราการเสีย ชีวิตค่อนข้างสูง ปัจจัยหลักหนึ่งในหลายปัจจัยที่ส่งผลต่อ การเสียชีวิต คือ การควบคุมอาการชักต่อเนื่องไม่ได้จน เกิดเป็นภาวะ refractory SE (RSE) และ super RSE (SRSE) คือ มีภาวะชักต่อเนื่องนานมากกว่า 1 ชั่วโมง และนานมากกว่า 24 ชั่วโมงตามลำดับ...

เมษายน - มิถุนายน 2567
ใช้ยาละลายลิ่มเลือดในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่พบร่วมกับอาการชัก
Topic Review

ใช้ยาละลายลิ่มเลือดในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่พบร่วมกับอาการชัก

สมศักดิ์ เทียมเก่า

โรคลมชักเป็นโรคทางระบบประสาทที่พบบ่อย ความชุกประมาณร้อยละ 1 ของประชากร พบได้ทุกกลุ่ม อายุ ซึ่งสาเหตุในแต่ละกลุ่มอายุมีความแตกต่างกัน โรคหลอดเลือดสมอง (stroke) พบว่าเป็นสาเหตุของโรค ลมชักที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ ผู้ป่วย stroke มีโอกาสการ เกิดอาการชักตามมาภายหลังสูงกว่าคนทั่วไป

เมษายน - มิถุนายน 2567
สาเหตุการเสียชีวิตของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบระยะเฉียบพลันในโรงพยาบาลพระนั่งเกล้า
Original Article

สาเหตุการเสียชีวิตของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบระยะเฉียบพลันในโรงพยาบาลพระนั่งเกล้า

พญ. ทยานันท์ อรรถเวชกุล

โรคหลอดเลือดสมอง หรือ stroke เป็นโรคที่พบได้ บ่อยในเวชปฏิบัติ และเป็นหนึ่งในสาเหตุหลักที่ทำให้เกิด ทุพพลภาพ และยังเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดการเสียชีวิต ของประชากรโลกเป็นอันดับสองรองจากโรคกล้ามเนื้อ หัวใจขาดเลือด...

เมษายน - มิถุนายน 2567
Prevalence of Small Fiber Neuropathy in Idiopathic Parkinson's Disease Patients
Original Article

Prevalence of Small Fiber Neuropathy in Idiopathic Parkinson's Disease Patients

Suchada Chayaratanasin, Suwat Srisuwannanukorn

Idiopathic Parkinson’s disease (PD) is a neurodegenerative disorder resulting from abnormal aggregation of alpha-synuclein and the consequences are the degeneration of dopaminergic neurons in substantia nigra. As dopamine decreases, motor symptoms such as bradykinesia, rigidity, tremor, and postural instability can develop.

เมษายน - มิถุนายน 2567
การพัฒนาและผลการดำเนินงานโรงพยาบาลเครือข่ายระบบช่องทางด่วนโรคหลอดเลือดสมอง (Stroke Fast Track) จังหวัดบึงกาฬ
Original Article

การพัฒนาและผลการดำเนินงานโรงพยาบาลเครือข่ายระบบช่องทางด่วนโรคหลอดเลือดสมอง (Stroke Fast Track) จังหวัดบึงกาฬ

วรุตม์ ชมภูจันทร์

โรคหลอดเลือดสมองเป็นภาวะที่สำคัญต่อระบบ สาธารณสุขทั่วโลก เป็นภัยคุกคามที่ก่อให้เกิดอันตราย ทั้งต่อร่างกายและจิตใจของผู้ป่วยและผู้ดูแล ทั่วโลกมี ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองจำนวนมากขึ้นทุกปี และใน แต่ละปี มีผู้เสียชีวิตจากโรคนี้ประมาณ 6 ล้านคน ข้อมูล จากองค์การอนามัยโลกพบว่าในประเทศไทยมีจำนวน ผู้ป่วยเพิ่มมากขึ้นทุกปีเช่นกัน...

เมษายน - มิถุนายน 2567
วารสารประสาทวิทยาแห่งประเทศไทย ปีที่ 40 ฉบับที่ 2

วารสารประสาทวิทยาแห่งประเทศไทย ปีที่ 40 ฉบับที่ 2

วารสารประสาทวิทยาแห่งประเทศไทย

- การพัฒนาและผลการดำเนินงานโรงพยาบาลเครือข่ายระบบช่องทางด่วนโรคหลอดเลือดสมอง (Stroke Fast Track) จังหวัดบึงกาฬ - Prevalence of Small Fiber Neuropathy in Idiopathic Parkinson’s Disease Patients - สาเหตุการเสียชีวิตของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบระบะเฉียบพลันในโรงพยาบาลพระนั่งเกล้า - ใช้ยาละลายลิ่มเลือดในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่พบร่วมกับอาการชัก - Status Epilepticus: Time is Brain - พยากรณ์ภาวะชักต่อเนื่อง - ทำไมต้องทำ DSC โรคลมชัก

เมษายน - มิถุนายน 2567 ISSN 2228 - 9801
Cover (ปก)

Cover (ปก)

วารสารประสาทวิทยาแห่งประเทศไทย

-

มกราคม - มีนาคม 2567
การใช้ Siponimod ในการรักษา โรคปลอกประสาทเสื่อมแข็ง
Topic Review

การใช้ Siponimod ในการรักษา โรคปลอกประสาทเสื่อมแข็ง

เอลียา ฟ้ามิตินนท์, พรธิญา รณรงค์

โรคปลอกประสาทเสื่อมแข็ง Multiple Sclerosis (MS) เป็นโรคภูมิต้านทานตนเองที่มาจากการท􀄬ำลาย เยื่อหุ้มแอกซอน (demyelinating disease) ที่ระบบ ประสาทส่วนกลาง ซึ่งปัจจุบันยังไม่ทราบสาเหตุการเกิด โรคที่แน่ชัด1 โดยผู้ป่วยมักเริ่มต้นมีอาการช่วงอายุ 20-40 ปี พบในผู้หญิงมากกว่าผู้ชายประมาณ 2 เท่า...

มกราคม - มีนาคม 2567