วารสาร

พยากรณ์ภาวะชักต่อเนื่อง
Topic Review

พยากรณ์ภาวะชักต่อเนื่อง

สมศักดิ์ เทียมเก่า

ภาวะชักต่อเนื่อง (status epilepticus : SE) เป็น ภาวะฉุกเฉินโรคทางระบบประสาท มีอัตราการเสียชีวิตสูง พบได้บ่อยในผู้สูงอายุ อัตราการเสียชีวิตขึ้นกับสาเหตุ ของ SE โดยเฉพาะภาวะ hypoxic ischemic encephalopathy (HIE) และการรักษาที่รวดเร็วควบคุมอาการชักได้เร็วภายใน 30-60 นาทีแรกหรือไม่...

เมษายน - มิถุนายน 2567
Status Epilepticus: Time is Brain
Topic Review

Status Epilepticus: Time is Brain

สมศักดิ์ เทียมเก่า

Status epilepticus (SE) หรือภาวะชักต่อเนื่อง เป็น ภาวะฉุกเฉินหนึ่งของโรคระบบประสาท มีอัตราการเสีย ชีวิตค่อนข้างสูง ปัจจัยหลักหนึ่งในหลายปัจจัยที่ส่งผลต่อ การเสียชีวิต คือ การควบคุมอาการชักต่อเนื่องไม่ได้จน เกิดเป็นภาวะ refractory SE (RSE) และ super RSE (SRSE) คือ มีภาวะชักต่อเนื่องนานมากกว่า 1 ชั่วโมง และนานมากกว่า 24 ชั่วโมงตามลำดับ...

เมษายน - มิถุนายน 2567
ใช้ยาละลายลิ่มเลือดในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่พบร่วมกับอาการชัก
Topic Review

ใช้ยาละลายลิ่มเลือดในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่พบร่วมกับอาการชัก

สมศักดิ์ เทียมเก่า

โรคลมชักเป็นโรคทางระบบประสาทที่พบบ่อย ความชุกประมาณร้อยละ 1 ของประชากร พบได้ทุกกลุ่ม อายุ ซึ่งสาเหตุในแต่ละกลุ่มอายุมีความแตกต่างกัน โรคหลอดเลือดสมอง (stroke) พบว่าเป็นสาเหตุของโรค ลมชักที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ ผู้ป่วย stroke มีโอกาสการ เกิดอาการชักตามมาภายหลังสูงกว่าคนทั่วไป

เมษายน - มิถุนายน 2567
การใช้ Siponimod ในการรักษา โรคปลอกประสาทเสื่อมแข็ง
Topic Review

การใช้ Siponimod ในการรักษา โรคปลอกประสาทเสื่อมแข็ง

เอลียา ฟ้ามิตินนท์, พรธิญา รณรงค์

โรคปลอกประสาทเสื่อมแข็ง Multiple Sclerosis (MS) เป็นโรคภูมิต้านทานตนเองที่มาจากการท􀄬ำลาย เยื่อหุ้มแอกซอน (demyelinating disease) ที่ระบบ ประสาทส่วนกลาง ซึ่งปัจจุบันยังไม่ทราบสาเหตุการเกิด โรคที่แน่ชัด1 โดยผู้ป่วยมักเริ่มต้นมีอาการช่วงอายุ 20-40 ปี พบในผู้หญิงมากกว่าผู้ชายประมาณ 2 เท่า...

มกราคม - มีนาคม 2567
การใช้ยาคาริพราซีนในการรักษาโรคจิตเภทในผู้ใหญ่
Topic Review

การใช้ยาคาริพราซีนในการรักษาโรคจิตเภทในผู้ใหญ่

ชนิดา อมรประภัสร์ชัย, ณัฐวัฒน์ วาศฉัตรพัฒน์

Schizophrenia หรือโรคจิตเภท เป็นหนึ่งในโรคทาง จิตเวชที่พบมากที่สุด โดยสาเหตุเกิดจากความผิดปกติ ของสมอง ทำให้คนไข้มีแสดงออกทางความคิด ความ รู้สึก และพฤติกรรมที่ผิดไปจากความเป็นจริงหรือไม่ เหมาะสม นอกจากนี้พบว่าผู้ป่วยส่วนใหญ่มีอาการป่วย เริ่มต้นตั้งแต่วัยรุ่นตอนปลายถึงวัยผู้ใหญ่ตอนต้น โดย อาจมีช่วงที่อาการดีขึ้นเป็นระยะ...

ตุลาคม - ธันวาคม 2566
ยา Nootropic ในประเทศไทย
Topic Review

ยา Nootropic ในประเทศไทย

ณัฐณิชา ผลประเสริฐ, ฉัตรชัย วราฤทธิ์

โรคอัลไซเมอร์ เป็นหนึ่งในภาวะสมองเสื่อม (dementia) เป็นความผิดปกติของสมองที่พบได้บ่อยใน ผู้สูงอายุ โดยผู้ป่วยมีความบกพร่องในด้านความจำ (memory) และการรู้คิด (cognition) เช่น ทักษะการใช้ชีวิต ประจำวัน การรับรู้สิ่งแวดล้อมต่างๆ ซึ่งกลไกการเกิดโรค มีได้จากหลายสาเหตุ แม้ว่าโรคนี้จะไม่สามารถป้องกัน และไม่สามารถรักษาได้...

กรกฎาคม - กันยายน 2566
การใช้ยา Nicergoline ในโรคระบบประสาท
Topic Review

การใช้ยา Nicergoline ในโรคระบบประสาท

จันทิรา รอดเดช,สมศักดิ์ เทียมเก่า,นันทพรรณ์ ชัยนิรันดร์,รัชฎาพร สุนทรภาส

อาการผิดปกติทางระบบประสาทเป็นปัญหาสุขภาพ ที่ผู้ป่วยทุกคนมีความกังวลใจทั้งสิ้น ไม่ว่าอาการจะเป็น อาการแขนขาอ่อนแรง มึน งง หนักหัว เบาหัว คิดอะไรไม่ ออก เดินเซ วิงเวียนศีรษะ หลงลืม ความจำไม่ดี ผู้ป่วยจะ มีความกังวลใจกลัวจะเป็นอาการของโรคหลอดเลือด สมอง และโรคอัลไซเมอร์...

เมษายน - มิถุนายน 2566
Cephalosporin-induced Encephalopathy and Its EEG Presentation
Topic Review

Cephalosporin-induced Encephalopathy and Its EEG Presentation

ชลภิวัฒน์ ตรีพงษ์

Cephalosporin เป็นยาปฏิชีวนะที่มีใช้ค่อนข้าง แพร่หลายในโรงพยาบาลทุกระดับของประเทศไทย เนื่องจากมีคุณสมบัติในการจัดการแบคทีเรียอันเป็น สาเหตุของโรคติดเชื้อในหลากหลายอวัยวะของร่างกาย อีกทั้งบางชนิดของยาในกลุ่มนี้ยังมีความสะดวกในการ บริหารจัดการ...

มกราคม - มีนาคม 2566
การใช้ยา Lemborexant ในการรักษาภาวะนอนไม่หลับ ในผู้ใหญ่
Topic Review

การใช้ยา Lemborexant ในการรักษาภาวะนอนไม่หลับ ในผู้ใหญ่

ภัคจิรา วชิรวัฒนา, สรรัตน์ ทำแก้ว

ภาวะนอนไม่หลับ (insomnia) เป็นความผิดปกติ ของวงจรการตื่น/หลับที่พบมากที่สุดประเภทหนึ่ง ความชุกของผู้ที่มีภาวะนอนไม่หลับประมาณร้อยละ 30 ของประชากรทั่วโลก ซึ่งเป็นภาวะเรื้อรังที่อาจทำให้เกิด ผลกระทบด้านลบที่หลากหลาย และผลที่ตามมาในระยะ ยาวต่อสุขภาพ รวมถึงการมีสุขภาวะทีดี่...

ตุลาคม - ธันวาคม 2565
ยา Armodafinil ในการรักษาภาวะนอนเกิน
Topic Review

ยา Armodafinil ในการรักษาภาวะนอนเกิน

พรธิญา รณรงค์, เอลียา ฟ้ามิตินนท์

อาการง่วงนอนมากเกินไปหรือภาวะนอนเกิน (excessive sleepiness หรือ ES) เป็นภาวะที่พบได้บ่อย โดยคาดว่าเป็นผลที่เกิดจาก (obstructive sleep apnea หรือ OSA) ความผิดปกติของการนอนหลับจากการ ทำงานเป็นกะ (shift work sleep disorder หรือ SWSD) โรคลมหลับ (narcolepsy) และอาการผิดปกติของการ นอนจากการเดินทางข้ามเขตเวลาโลก (jet lag) แม้ว่าจะ ยังไม่ทราบสาเหตุแน่ชัด...

กรกฎาคม - กันยายน 2565