วารสาร

Status Epilepticus: Time is Brain
Topic Review

Status Epilepticus: Time is Brain

สมศักดิ์ เทียมเก่า

Status epilepticus (SE) หรือภาวะชักต่อเนื่อง เป็น ภาวะฉุกเฉินหนึ่งของโรคระบบประสาท มีอัตราการเสีย ชีวิตค่อนข้างสูง ปัจจัยหลักหนึ่งในหลายปัจจัยที่ส่งผลต่อ การเสียชีวิต คือ การควบคุมอาการชักต่อเนื่องไม่ได้จน เกิดเป็นภาวะ refractory SE (RSE) และ super RSE (SRSE) คือ มีภาวะชักต่อเนื่องนานมากกว่า 1 ชั่วโมง และนานมากกว่า 24 ชั่วโมงตามลำดับ...

เมษายน - มิถุนายน 2567
การบริการผู้ป่วยนอก โรคระบบประสาท
Original Article

การบริการผู้ป่วยนอก โรคระบบประสาท

สมศักดิ์ เทียมเก่า

โรคระบบประสาทส่วนใหญ่เป็นโรคเรื้อรัง ผู้ป่วย เป็นทั้งผู้ป่วยนอก (out-patient) และผู้ป่วยใน (in-patient) ได้รับการตรวจรักษาจากอายุรแพทย์ระบบประสาท (neurologist) ปัจจุบันจากฐานข้อมูลจำนวนประชากร ของกระทรวงมหาดไทยเมื่อวันที่ 30 มีนาคม 2566 ประชากรไทยที่มีอายุมากกว่า 15 ปีขึ้นไปมีจำนวน 55,512,438 คน...

กรกฎาคม - กันยายน 2566
วารสารประสาทวิทยาแห่งประเทศไทย ปีที่ 39 ฉบับที่ 3

วารสารประสาทวิทยาแห่งประเทศไทย ปีที่ 39 ฉบับที่ 3

วารสารประสาทวิทยาแห่งประเทศไทย

- ยา Nootropic ในประเทศไทย - Role of Etifoxine as an Adjunctive Treatment in Patients with Drug-Resistant Epilepsy with Comorbid Anxiety Symptoms - การบริการผู้ป่วยนอก โรคระบบประสาท - The Mortality of Tuberculous Meningitis in Maharat Nakhon Ratchasima Hospital - โรคหลอดเลือดสมอง อดีต ปัจจุบัน และอนาคต - COVID-19: Crisis to Chance - งานวิจัยของแพทย์ประจำบ้านและแพทย์ต่อยอด สาขาประสาทวิทยา ที่จบการศึกษาในปี 2564 - งานวิจัยในการประชุมวิชาการ ประจำปี 2566 ครั้งที่ 12 สมาคมโรคสมองเสื่อมแห่งประเทศไทย ระหว่างวันที่ 16-18 กุมภาพันธ์ 2566

กรกฎาคม - กันยายน 2566 ISSN 2228 - 9801
การใช้ยา Nicergoline ในโรคระบบประสาท
Topic Review

การใช้ยา Nicergoline ในโรคระบบประสาท

จันทิรา รอดเดช,สมศักดิ์ เทียมเก่า,นันทพรรณ์ ชัยนิรันดร์,รัชฎาพร สุนทรภาส

อาการผิดปกติทางระบบประสาทเป็นปัญหาสุขภาพ ที่ผู้ป่วยทุกคนมีความกังวลใจทั้งสิ้น ไม่ว่าอาการจะเป็น อาการแขนขาอ่อนแรง มึน งง หนักหัว เบาหัว คิดอะไรไม่ ออก เดินเซ วิงเวียนศีรษะ หลงลืม ความจำไม่ดี ผู้ป่วยจะ มีความกังวลใจกลัวจะเป็นอาการของโรคหลอดเลือด สมอง และโรคอัลไซเมอร์...

เมษายน - มิถุนายน 2566
วารสารประสาทวิทยาแห่งประเทศไทย ปีที่ 39 ฉบับที่ 2

วารสารประสาทวิทยาแห่งประเทศไทย ปีที่ 39 ฉบับที่ 2

วารสารประสาทวิทยาแห่งประเทศไทย

- อาลัยคุณหมออรรถสิทธิ์ เวชชาชีวะ "ผู้เกิดมาโชคดี" - ประสิทธิภาพการควบคุมความดันโลหิตด้วยยา labetalol ในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะเฉียบพลัน - ผลของรังสีแกมมาต่อการเปลี่ยนแปลงฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ สารประกอบฟีนอลรวมและสารแอนโทไซยานินรวมของสารสกัดซังข้าวโพดสีม่วง - การศึกษาความตระหนักรู้เกี่ยวกับโรคหลอดเลือดสมอง: กรณีศึกษาตำบลคลองหก อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี - แนวโน้มการเสียชีวิตผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองเฉียบพลัน - อุบัติการณ์โรคหลอดเลือดสมองประเทศไทย - การใช้ยา Nicergoline ในโรคระบบประสาท

เมษายน - มิถุนายน 2566 ISSN 2228 - 9801
มลภาวะกับโรคระบบประสาท
Topic Review

มลภาวะกับโรคระบบประสาท

สมศักดิ์ เทียมเก่า

มลภาวะสิ่งแวดล้อม (environmental pollution) เป็นปัญหาสำคัญทางสาธารณสุขส่วนใหญ่ก่อให้เกิดโรค ต่างๆ ส่งผลให้ประชากรโลกเสียชีวิตปีละหลายล้านคน1 โดยเฉพาะมลภาวะอากาศอนุภาคฝุ่นจิ๋ว (PM2.5) เนื่องจากขนาดเล็กมากจึงเข้าสู่ร่างกายผ่านทางหายใจ และกระจายทางหลอดเลือดไปทั่วร่างกาย ส่งผลกระทบ อวัยวะต่างๆ ของร่างกาย เมื่อร่างกายได้รับฝุ่นจิ๋วเข้าสู่ ร่างกายต่อเนื่องเป็นระยะเวลานานประกอบกับภูมิคุ้มกัน ของร่างกายที่ทรุดลง เป็นปัจจัยสำคัญที่ก่อพยาธิสภาพ ในหลอดเลือด หัวใจ หนัง อวัยวะระบบหายใจและระบบ ประสาท

ตุลาคม - ธันวาคม 2564
ระบาดวิทยาโรคระบบประสาทในประเทศไทย
Original Article

ระบาดวิทยาโรคระบบประสาทในประเทศไทย

สมศักดิ์ เทียมเก่า,จิตรจิรา ไชยฤทธิ์

โรคระบบประสาทเป็นโรคที่พบบ่อยและ ก่อให้เกิดผลกระทบส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วย และครอบครัว เช่น โรคหลอดเลือดสมอง โรคลมชัก โรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง ซึ่งส่วนใหญ่แล้วรักษาโดยแพทย์ เวชปฏิบัติทั่วไป หรืออายุรแพทย์ เนื่องจากจำนวน อายุรแพทย์ระบบประสาท และการกระจายตัวของแพทย์ ดังกล่าวไม่มีการกระจายไปทุกพื้นที่ มีการกระจุกตัวอยู่ ในกรุงเทพและปริมณฑลเป็นจำนวนมาก

กรกฎาคม - กันยายน 2564
แนวทางการฉีดวัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 สำหรับผู้ป่วยโรคระบบประสาท
บทความพิเศษ

แนวทางการฉีดวัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 สำหรับผู้ป่วยโรคระบบประสาท

สถาบันประสาทวิทยา กรมการแพทย์ สมาคมประสาทวิทยาแห่งประเทศไทย และเครือข่ายโรงพยาบาลกลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทย (UHosNet)

จากการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในปี พ.ศ.2563-ปัจจุบัน มีผู้ติดเชื้อไปแล้วจำนวนมาก ทั้งประเทศและทั่วโลก ขณะนี้ได้มีการฉีดวัคซีนใน ประเทศไทย และพบปัญหาเรื่องข้อบ่งชี้ และข้อควรระวัง ในการฉีดวัคซีนในผู้ป่วยโรคทางระบบประสาท ทาง สถาบันประสาทวิทยาได้ร่วมกับสมาคมประสาทวิทยา แห่งประเทศไทย และเครือข่ายโรงพยาบาลกลุ่มสถาบัน แพทยศาสตร์แห่งประเทศไทย ได้จัดทำแนวทางการฉีด วัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019

กรกฎาคม - กันยายน 2564