วารสาร

วารสารประสาทวิทยาแห่งประเทศไทย ปีที่ 41 ฉบับที่ 2

วารสารประสาทวิทยาแห่งประเทศไทย ปีที่ 41 ฉบับที่ 2

วารสารประสาทวิทยาแห่งประเทศไทย

- Apixaban Concentration according to Creatinine cle for Stroke prevention in patients with nonvalvular Atrial Fibrillation (ACCESS-AF study) - Incidence and Association of 30-day Recurrent Stroke in Ischemic Stroke Patients Who Received DAPT (dual antiplatelet therapy) in Rajavithi Hospital - Validation of TU-NMS Questionaire, Prevalence, and Benefit of Botulinum Toxin Injection on Non-Motor Symptoms in Primary Craniocervical Dystonia - การพัฒนาการดูแลผู้ป่วย และการฝึกอบรมด้าน โรคเส้นประสาทร่วมกล้ามเนื้อ For Better Care for Neuromuscular Patients : National List of Essential Medicines, Thai Neuromuscular Guideline and Fellowship Training - การให้นมบุตรในผู้หญิงโรคลมชัก - ข้อผิดพลาดที่พบในการรักษาภาวะชักต่อเนื่อง - What Should We Do When Work Is Not Balance With Life - การบริหารจัดการ Epilepsy Clinic และบทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยลมชัก

เมษายน - มิถุนายน 2568 ISSN 2228 - 9801
ยาเม็ดฮอร์โมนคุมกำเนิดในผู้หญิงโรคลมชัก
Topic Review

ยาเม็ดฮอร์โมนคุมกำเนิดในผู้หญิงโรคลมชัก

ผศ.พญ. ศิริพร เทียมเก่า

การใช้ยาเม็ดฮอร์โมนคุมกำเนิดในผู้หญิงโรคลมชัก จะมีวิธีพิจารณาแตกต่างจากผู้หญิงทั่วไป เนื่องจากผู้หญิง โรคลมชักที่รักษาด้วยยากันชักนั้น ยากันชักกลุ่มที่มี คุณสมบัติเป็น enzyme inducing กับยาเม็ดฮอร์โมนคุม กำเนิดนั้นจะมีอันตรกิริยาระหว่างกันและกัน ส่งผลให้ ระดับยากันชักลดลง ประสิทธิภาพการควบคุมอาการชัก ลดลง...

กรกฎาคม - กันยายน 2567
วารสารประสาทวิทยาแห่งประเทศไทย ปีที่ 40 ฉบับที่ 3

วารสารประสาทวิทยาแห่งประเทศไทย ปีที่ 40 ฉบับที่ 3

วารสารประสาทวิทยาแห่งประเทศไทย

- Glutamate Receptor Expression in Astrocytoma Tissue from Patient with and without Seizure - ยาเม็ดฮอร์โมนคุมกำเนิดในผู้หญิงโรคลมชัก - ภาวะชักต่อเนื่องในหญิงตั้งครรภ์ - ผลงานวิจัยแพทย์ประจำบ้านและแพทย์ต่อยอดสาขาประสาทวิทยา ประจำปี 2567

กรกฎาคม - กันยายน 2567 ISSN 2228 - 9801
ทำไมต้องทำ DSC โรคลมชัก
นานาสาระ

ทำไมต้องทำ DSC โรคลมชัก

ศ.นพ. สมศักดิ์ เทียมเก่า

โรคลมชัก (epilepsy) เป็นโรคทางระบบประสาทที่ พบบ่อย ความชุกประมาณ 7 คนใน 1000 คน พบได้ทุก เพศทุกวัย ผู้ป่วยโรคลมชักนั้นประสบปัญหาในการเข้า ถึงการรักษา จากการศึกษาขององค์การอนามัยโลกพบ ว่าผู้ป่วยโรคลมชักในประเทศไทยเพียง ร้อยละ 70 เท่านั้น ที่เข้าถึงการรักษา...

เมษายน - มิถุนายน 2567
ใช้ยาละลายลิ่มเลือดในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่พบร่วมกับอาการชัก
Topic Review

ใช้ยาละลายลิ่มเลือดในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่พบร่วมกับอาการชัก

สมศักดิ์ เทียมเก่า

โรคลมชักเป็นโรคทางระบบประสาทที่พบบ่อย ความชุกประมาณร้อยละ 1 ของประชากร พบได้ทุกกลุ่ม อายุ ซึ่งสาเหตุในแต่ละกลุ่มอายุมีความแตกต่างกัน โรคหลอดเลือดสมอง (stroke) พบว่าเป็นสาเหตุของโรค ลมชักที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ ผู้ป่วย stroke มีโอกาสการ เกิดอาการชักตามมาภายหลังสูงกว่าคนทั่วไป

เมษายน - มิถุนายน 2567
วารสารประสาทวิทยาแห่งประเทศไทย ปีที่ 40 ฉบับที่ 2

วารสารประสาทวิทยาแห่งประเทศไทย ปีที่ 40 ฉบับที่ 2

วารสารประสาทวิทยาแห่งประเทศไทย

- การพัฒนาและผลการดำเนินงานโรงพยาบาลเครือข่ายระบบช่องทางด่วนโรคหลอดเลือดสมอง (Stroke Fast Track) จังหวัดบึงกาฬ - Prevalence of Small Fiber Neuropathy in Idiopathic Parkinson’s Disease Patients - สาเหตุการเสียชีวิตของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบระบะเฉียบพลันในโรงพยาบาลพระนั่งเกล้า - ใช้ยาละลายลิ่มเลือดในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่พบร่วมกับอาการชัก - Status Epilepticus: Time is Brain - พยากรณ์ภาวะชักต่อเนื่อง - ทำไมต้องทำ DSC โรคลมชัก

เมษายน - มิถุนายน 2567 ISSN 2228 - 9801
ประสิทธิภาพการรักษาผู้ป่วยโรคลมชักด้วยยา Levetiracetam ชื่อสามัญ
Original Article

ประสิทธิภาพการรักษาผู้ป่วยโรคลมชักด้วยยา Levetiracetam ชื่อสามัญ

สมศักดิ์ เทียมเก่า,พิมพ์พร พรหมคำตัน,ศิริพร เทียมเก่า

การรักษาโรคลมชักด้วยยากันชักเป็นวิธีที่นิยมใช้ มากที่สุด เพราะมียากันชักให้เลือกใช้ได้หลายชนิด ตามชนิดของรูปแบบการชัก โรคร่วมของผู้ป่วย และ ประสิทธิภาพของยากันชักชนิด ตลอดจนผลข้างเคียงของ ยากันชัก ซึ่งยากันชักชื่อ Levetiracetam เป็นยากันชักรุ่น ใหม่ชนิดหนึ่งที่แพทย์พิจารณาใช้รักษาผู้ป่วยโรคลมชัก เนื่องจากมีประสิทธิภาพ

เมษายน - มิถุนายน 2565
วารสารประสาทวิทยาแห่งประเทศไทย ปีที่ 38 ฉบับที่ 2

วารสารประสาทวิทยาแห่งประเทศไทย ปีที่ 38 ฉบับที่ 2

วารสารประสาทวิทยาแห่งประเทศไทย

ศัพท์แพทย์ อักษร A, ยา Levetiracetam กับการเหนี่ยวนำให้เกิดภาวะเม็ดเลือดขาวชนิดนิวโทรฟิลต่ำ, ประสิทธิภาพการรักษาผู้ป่วยโรคลมชักด้วยยา Levetiracetam ชื่อสามัญ, Incidence of Pneumonia and Associated Factors in Ischemic Stroke Patient Admitted in Rajavithi Stroke Unit, Incidence and Risk Factors of Deep Vein Thrombosis with Complex Regional Pain Syndrome in Neurological Patients, Diagnostic Dilemma in A Man Who Presented with Headache and Transient Memory Loss, Sensory Neuropathy Associated with Long Term Turmeric Consumption

เมษายน - มิถุนายน 2565 ISSN 2228 - 9801
ระบาดวิทยาโรคระบบประสาทในประเทศไทย
Original Article

ระบาดวิทยาโรคระบบประสาทในประเทศไทย

สมศักดิ์ เทียมเก่า,จิตรจิรา ไชยฤทธิ์

โรคระบบประสาทเป็นโรคที่พบบ่อยและ ก่อให้เกิดผลกระทบส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วย และครอบครัว เช่น โรคหลอดเลือดสมอง โรคลมชัก โรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง ซึ่งส่วนใหญ่แล้วรักษาโดยแพทย์ เวชปฏิบัติทั่วไป หรืออายุรแพทย์ เนื่องจากจำนวน อายุรแพทย์ระบบประสาท และการกระจายตัวของแพทย์ ดังกล่าวไม่มีการกระจายไปทุกพื้นที่ มีการกระจุกตัวอยู่ ในกรุงเทพและปริมณฑลเป็นจำนวนมาก

กรกฎาคม - กันยายน 2564