วารสาร

วารสารประสาทวิทยาแห่งประเทศไทย ปีที่ 41 ฉบับที่ 2

วารสารประสาทวิทยาแห่งประเทศไทย ปีที่ 41 ฉบับที่ 2

วารสารประสาทวิทยาแห่งประเทศไทย

- Apixaban Concentration according to Creatinine cle for Stroke prevention in patients with nonvalvular Atrial Fibrillation (ACCESS-AF study) - Incidence and Association of 30-day Recurrent Stroke in Ischemic Stroke Patients Who Received DAPT (dual antiplatelet therapy) in Rajavithi Hospital - Validation of TU-NMS Questionaire, Prevalence, and Benefit of Botulinum Toxin Injection on Non-Motor Symptoms in Primary Craniocervical Dystonia - การพัฒนาการดูแลผู้ป่วย และการฝึกอบรมด้าน โรคเส้นประสาทร่วมกล้ามเนื้อ For Better Care for Neuromuscular Patients : National List of Essential Medicines, Thai Neuromuscular Guideline and Fellowship Training - การให้นมบุตรในผู้หญิงโรคลมชัก - ข้อผิดพลาดที่พบในการรักษาภาวะชักต่อเนื่อง - What Should We Do When Work Is Not Balance With Life - การบริหารจัดการ Epilepsy Clinic และบทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยลมชัก

เมษายน - มิถุนายน 2568 ISSN 2228 - 9801
วารสารประสาทวิทยาแห่งประเทศไทย ปีที่ 41 ฉบับที่ 1

วารสารประสาทวิทยาแห่งประเทศไทย ปีที่ 41 ฉบับที่ 1

วารสารประสาทวิทยาแห่งประเทศไทย

- การพัฒนาระบบบริการโรคหลอดเลือดสมองในประเทศไทย - Incidence and Clinical Characteristics of Acute Ischemic Stroke or Transient Ischemic Attack following Whole Cell COVID-19 Vaccination (CoronaVac) in Southern Thailand - Psychiatric and Behavioral Problems in Patients with Epilepsy in Phramongkutklao Hospital: A Retrospective Survey - ปัจจัยพยากรณ์ภารเสียชีวิตของผู้ปายที่มีการะเลือดออกในสมธงที่เกิดขึ้นเอง ในโรงพยาบาลสวรรค์ประชารักษ์ - Prevalence and Risk Factors for Post Stroke Depression in Patients with Acute Ischemic Stroke in Rajavithi Hospital - Enhancing Diagnostic Concordance in Parkinson's Disease: A Neurologist-Centric Analysis Using MediaPipe Hands - การรักษาภาวะชักต่อเนื่องที่โรงพยาบาลชุมชน - การรักษาภาวะชักต่อเนื่องภายนอกโรงพยาบาล - ภาวะชักต่อเนื่องในผู้สูงอายุ - อายุรแพทย์ระบบประสาทในประเทศไทย

มกราคม - มีนาคม 2568 ISSN 2228 - 9801
ภาวะชักต่อเนื่องในหญิงตั้งครรภ์
Topic Review

ภาวะชักต่อเนื่องในหญิงตั้งครรภ์

ศิริพร เทียมเก่า,สมศักดิ์ เทียมเก่า

ภาวะ status epilepticus หรือภาวะชักต่อเนื่องพบ ได้น้อยมากในหญิงตั้งครรภ์' เป็นที่ทราบกันดีว่าอาการ ชักในขณะตั้งครรภ์นั้น ส่วนใหญ่แล้วจะควบคุมอาการ ชักได้ ไม่ค่อยมีการเปลี่ยนแปลง อาจพบประมาณ ร้อยละ 37 ที่มีการชักบ่อยขึ้น ระหว่างการตั้งครรภ์นั้นพบ ว่าการกำจัดยาออกจากร่างกายหรือ volume distribution มีการเปลี่ยนแปลงทำให้ระดับยากันชักรวม (total form) ลดต่ำลง แต่ระดับยากันชักในรูปอิสระ (free form) อาจสูงขึ้น...

กรกฎาคม - กันยายน 2567
วารสารประสาทวิทยาแห่งประเทศไทย ปีที่ 40 ฉบับที่ 3

วารสารประสาทวิทยาแห่งประเทศไทย ปีที่ 40 ฉบับที่ 3

วารสารประสาทวิทยาแห่งประเทศไทย

- Glutamate Receptor Expression in Astrocytoma Tissue from Patient with and without Seizure - ยาเม็ดฮอร์โมนคุมกำเนิดในผู้หญิงโรคลมชัก - ภาวะชักต่อเนื่องในหญิงตั้งครรภ์ - ผลงานวิจัยแพทย์ประจำบ้านและแพทย์ต่อยอดสาขาประสาทวิทยา ประจำปี 2567

กรกฎาคม - กันยายน 2567 ISSN 2228 - 9801
พยากรณ์ภาวะชักต่อเนื่อง
Topic Review

พยากรณ์ภาวะชักต่อเนื่อง

สมศักดิ์ เทียมเก่า

ภาวะชักต่อเนื่อง (status epilepticus : SE) เป็น ภาวะฉุกเฉินโรคทางระบบประสาท มีอัตราการเสียชีวิตสูง พบได้บ่อยในผู้สูงอายุ อัตราการเสียชีวิตขึ้นกับสาเหตุ ของ SE โดยเฉพาะภาวะ hypoxic ischemic encephalopathy (HIE) และการรักษาที่รวดเร็วควบคุมอาการชักได้เร็วภายใน 30-60 นาทีแรกหรือไม่...

เมษายน - มิถุนายน 2567
Status Epilepticus: Time is Brain
Topic Review

Status Epilepticus: Time is Brain

สมศักดิ์ เทียมเก่า

Status epilepticus (SE) หรือภาวะชักต่อเนื่อง เป็น ภาวะฉุกเฉินหนึ่งของโรคระบบประสาท มีอัตราการเสีย ชีวิตค่อนข้างสูง ปัจจัยหลักหนึ่งในหลายปัจจัยที่ส่งผลต่อ การเสียชีวิต คือ การควบคุมอาการชักต่อเนื่องไม่ได้จน เกิดเป็นภาวะ refractory SE (RSE) และ super RSE (SRSE) คือ มีภาวะชักต่อเนื่องนานมากกว่า 1 ชั่วโมง และนานมากกว่า 24 ชั่วโมงตามลำดับ...

เมษายน - มิถุนายน 2567
วารสารประสาทวิทยาแห่งประเทศไทย ปีที่ 40 ฉบับที่ 2

วารสารประสาทวิทยาแห่งประเทศไทย ปีที่ 40 ฉบับที่ 2

วารสารประสาทวิทยาแห่งประเทศไทย

- การพัฒนาและผลการดำเนินงานโรงพยาบาลเครือข่ายระบบช่องทางด่วนโรคหลอดเลือดสมอง (Stroke Fast Track) จังหวัดบึงกาฬ - Prevalence of Small Fiber Neuropathy in Idiopathic Parkinson’s Disease Patients - สาเหตุการเสียชีวิตของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบระบะเฉียบพลันในโรงพยาบาลพระนั่งเกล้า - ใช้ยาละลายลิ่มเลือดในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่พบร่วมกับอาการชัก - Status Epilepticus: Time is Brain - พยากรณ์ภาวะชักต่อเนื่อง - ทำไมต้องทำ DSC โรคลมชัก

เมษายน - มิถุนายน 2567 ISSN 2228 - 9801
อัตราการเสียชีวิตและปัจจัยที่เกี่ยวข้องของภาวะชักต่อเนื่องในโรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
Original Article

อัตราการเสียชีวิตและปัจจัยที่เกี่ยวข้องของภาวะชักต่อเนื่องในโรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา

Wisan Teeratantikanon,Pawut Mekawichai

ภาวะชักต่อเนื่องเป็นภาวะฉุกเฉิน ทางระบบประสาทที่พบได้บ่อยในเวชปฏิบัติ การวินิจฉัย และการรักษาที่ทันท่วงทีส่งผลดีต่อผลการรักษาอย่าง มาก วัตถุประสงค์ของการศึกษานี้คือศึกษาอัตราการเสีย ชีวิตของภาวะชักต่อเนื่องและศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับ การเสียชีวิตของภาวะชักต่อเนื่องในโรงพยาบาลมหาราช นครราชสีมา

มกราคม - มีนาคม 2564