วารสาร

ใช้ยาละลายลิ่มเลือดในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่พบร่วมกับอาการชัก
Topic Review

ใช้ยาละลายลิ่มเลือดในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่พบร่วมกับอาการชัก

สมศักดิ์ เทียมเก่า

โรคลมชักเป็นโรคทางระบบประสาทที่พบบ่อย ความชุกประมาณร้อยละ 1 ของประชากร พบได้ทุกกลุ่ม อายุ ซึ่งสาเหตุในแต่ละกลุ่มอายุมีความแตกต่างกัน โรคหลอดเลือดสมอง (stroke) พบว่าเป็นสาเหตุของโรค ลมชักที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ ผู้ป่วย stroke มีโอกาสการ เกิดอาการชักตามมาภายหลังสูงกว่าคนทั่วไป

เมษายน - มิถุนายน 2567
สาเหตุการเสียชีวิตของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบระยะเฉียบพลันในโรงพยาบาลพระนั่งเกล้า
Original Article

สาเหตุการเสียชีวิตของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบระยะเฉียบพลันในโรงพยาบาลพระนั่งเกล้า

พญ. ทยานันท์ อรรถเวชกุล

โรคหลอดเลือดสมอง หรือ stroke เป็นโรคที่พบได้ บ่อยในเวชปฏิบัติ และเป็นหนึ่งในสาเหตุหลักที่ทำให้เกิด ทุพพลภาพ และยังเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดการเสียชีวิต ของประชากรโลกเป็นอันดับสองรองจากโรคกล้ามเนื้อ หัวใจขาดเลือด...

เมษายน - มิถุนายน 2567
การพัฒนาและผลการดำเนินงานโรงพยาบาลเครือข่ายระบบช่องทางด่วนโรคหลอดเลือดสมอง (Stroke Fast Track) จังหวัดบึงกาฬ
Original Article

การพัฒนาและผลการดำเนินงานโรงพยาบาลเครือข่ายระบบช่องทางด่วนโรคหลอดเลือดสมอง (Stroke Fast Track) จังหวัดบึงกาฬ

วรุตม์ ชมภูจันทร์

โรคหลอดเลือดสมองเป็นภาวะที่สำคัญต่อระบบ สาธารณสุขทั่วโลก เป็นภัยคุกคามที่ก่อให้เกิดอันตราย ทั้งต่อร่างกายและจิตใจของผู้ป่วยและผู้ดูแล ทั่วโลกมี ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองจำนวนมากขึ้นทุกปี และใน แต่ละปี มีผู้เสียชีวิตจากโรคนี้ประมาณ 6 ล้านคน ข้อมูล จากองค์การอนามัยโลกพบว่าในประเทศไทยมีจำนวน ผู้ป่วยเพิ่มมากขึ้นทุกปีเช่นกัน...

เมษายน - มิถุนายน 2567
วารสารประสาทวิทยาแห่งประเทศไทย ปีที่ 40 ฉบับที่ 2

วารสารประสาทวิทยาแห่งประเทศไทย ปีที่ 40 ฉบับที่ 2

วารสารประสาทวิทยาแห่งประเทศไทย

- การพัฒนาและผลการดำเนินงานโรงพยาบาลเครือข่ายระบบช่องทางด่วนโรคหลอดเลือดสมอง (Stroke Fast Track) จังหวัดบึงกาฬ - Prevalence of Small Fiber Neuropathy in Idiopathic Parkinson’s Disease Patients - สาเหตุการเสียชีวิตของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบระบะเฉียบพลันในโรงพยาบาลพระนั่งเกล้า - ใช้ยาละลายลิ่มเลือดในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่พบร่วมกับอาการชัก - Status Epilepticus: Time is Brain - พยากรณ์ภาวะชักต่อเนื่อง - ทำไมต้องทำ DSC โรคลมชัก

เมษายน - มิถุนายน 2567 ISSN 2228 - 9801
ความน่าเชื่อถือของการใช้ สมาร์ตโฟนเพื่อประเมินคะแนน National Institutes of Health Stroke Scale ในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะเฉียบพลัน
Original Article

ความน่าเชื่อถือของการใช้ สมาร์ตโฟนเพื่อประเมินคะแนน National Institutes of Health Stroke Scale ในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะเฉียบพลัน

มกร ลิ้มอุดมพร, วรรณพร เอี่ยมวรวุฒิกุล, ชณิตา อ่อนน้อม

การตัดสินใจเพื่อรักษาโรคหลอดเลือดชนิดขาดเลือด ในระยะเฉียบพลันต้องมีความรวดเร็วและมีการประเมิน ที่ถูกต้องจากแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านโรคหลอดเลือดสมอง ซึ่งส่วนใหญ่มักจะอยู่ในโรงพยาบาลขนาดใหญ่ที่อยู่ใน เขตเมือง อย่างไรก็ตามด้วย มีงานวิจัยหลายชิ้นใน ต่างประเทศที่ศึกษาความน่าเชื่อถือของการใช้ระบบ โทรเวชต่อการประเมินผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองด้วย NIHSS (National Institute of Health Stroke Scale) ผลปรากฏว่า...

ตุลาคม - ธันวาคม 2566
วารสารประสาทวิทยาแห่งประเทศไทย ปีที่ 39 ฉบับที่ 4

วารสารประสาทวิทยาแห่งประเทศไทย ปีที่ 39 ฉบับที่ 4

วารสารประสาทวิทยาแห่งประเทศไทย

- Comparison of Early Onset versus Late Onset Neuromyelitis Optica Spectrum Disorders: Clinical Characteristics and Outcomes at A University Hospital, Northeastern Thailand - Gray Matter to White Matter (GM/WM) Density Ratio Prediction on Computed Tomography in Cardiac Arrest Patients - Correlation between D-Dimer Level and Ischemic Stroke in COVID-19 Patients in Rajavithi Hospital - Relationship of Core Growth Rate, Collateral Circulation Status and Clinical Outcome in Patients with Acute Ischemic Stroke from Anterior Circulation Occlusion - Comparison Efficacy and Safety of Intravenous Push Levetiracetam Vs Midazolam for Seizure Termination in Non-Convulsive Status Epilepticus. A Double-Blind Randomized Controlled Trial - Factors Associated with Prolonged Hospital Stays in Acute Stroke Unit - ความน่าเชื่อถือของการใช้สมาร์ตโฟนเพื่อประเมินคะแนน National Institutes of Health Stroke Scale ในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะเฉียบพลัน - การใช้ยาคาริพราซีนในการรักษาโรคจิตเภทในผู้ใหญ่

ตุลาคม - ธันวาคม 2566 ISSN 2228 - 9801
โรคหลอดเลือดสมอง อดีต ปัจจุบัน และอนาคต
นานาสาระ

โรคหลอดเลือดสมอง อดีต ปัจจุบัน และอนาคต

สมศักดิ์ เทียมเก่า

โรคหลอดเลือดสมอง stroke หรือ cerebrovascular disease เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญลำดับต้นๆ ของ ประเทศไทยและทั่วโลก เนื่องจากมีอัตราการเสียชีวิต และก่อให้เกิดความพิการได้สูง ส่งผลกระทบกับผู้ป่วย ครอบครัว และชุมชน ตลอดจนเป็นปัญหาของประเทศ ก่อให้เกิดค่าใช้จ่ายด้านสาธารณสุขเป็นมูลค่าที่สูงมาก...

กรกฎาคม - กันยายน 2566
วารสารประสาทวิทยาแห่งประเทศไทย ปีที่ 39 ฉบับที่ 3

วารสารประสาทวิทยาแห่งประเทศไทย ปีที่ 39 ฉบับที่ 3

วารสารประสาทวิทยาแห่งประเทศไทย

- ยา Nootropic ในประเทศไทย - Role of Etifoxine as an Adjunctive Treatment in Patients with Drug-Resistant Epilepsy with Comorbid Anxiety Symptoms - การบริการผู้ป่วยนอก โรคระบบประสาท - The Mortality of Tuberculous Meningitis in Maharat Nakhon Ratchasima Hospital - โรคหลอดเลือดสมอง อดีต ปัจจุบัน และอนาคต - COVID-19: Crisis to Chance - งานวิจัยของแพทย์ประจำบ้านและแพทย์ต่อยอด สาขาประสาทวิทยา ที่จบการศึกษาในปี 2564 - งานวิจัยในการประชุมวิชาการ ประจำปี 2566 ครั้งที่ 12 สมาคมโรคสมองเสื่อมแห่งประเทศไทย ระหว่างวันที่ 16-18 กุมภาพันธ์ 2566

กรกฎาคม - กันยายน 2566 ISSN 2228 - 9801
อุบัติการณ์โรคหลอดเลือดสมอง ประเทศไทย
Original Article

อุบัติการณ์โรคหลอดเลือดสมอง ประเทศไทย

สมศักดิ์ เทียมเก่า

อุบัติการณ์โรคหลอดเลือดสมองในประเทศไทยมี แนวโน้มสูงขึ้นมาตลอด ส่งผลให้มีผู้ป่วยโรคหลอดเลือด สมองในประเทศไทยเพิ่มมากขึ้น ผู้ป่วยโรคหลอดเลือด สมองชนิดขาดเลือดส่วนหนึ่งที่มาทันระบบการรักษา stroke fast track ได้รับการรักษาด้วยการให้ยาละลาย ลิ่มเลือด (rtpa) ตั้งแต่ พ.ศ. 2552 มาถึงปัจจุบัน...

เมษายน - มิถุนายน 2566
แนวโน้มการเสียชีวิตผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองเฉียบพลัน
Original Article

แนวโน้มการเสียชีวิตผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองเฉียบพลัน

สมศักดิ์ เทียมเก่า

โรคหลอดเลือดสมองเฉียบพลัน (acute stroke) เป็นโรคทางระบบประสาทที่พบได้บ่อยมากขึ้นกว่าใน อดีต ปัจจุบันมีระบบการรักษาที่ดียิ่งขึ้น ได้แก่ การรักษา ด้วยระบบ stroke fast track การรักษาด้วยยาละลาย ลิ่มเลือด (thrombolytic treatment) หรือการรักษา ด้วยการใส่สายสวนหลอดเลือด...

เมษายน - มิถุนายน 2566